ลีนุกซ์ (Linux)
Home  Contents KMArticlesMembersSponsorsAbout us

ปรับปรุง : 2556-10-06 (ปรับเป็นรุ่น 3)
ขอบซ้ายขอบบน
Linux : 0102
:: กลับหน้าแรก :: แสดงเนื้อหาทั้งหมด ::

1.2 คำสั่ง chmod
: ใช้เปลี่ยนสิทธิของแฟ้ม เจ้าของ(Owner), คนในกลุ่ม(Group), คนอื่น(Other) สามารถทำอะไรได้บ้าง
: change file access permissions
เมื่อใช้คำสั่ง ls ท่านจะเห็นตัวอักษร RWXRWXRWX หรือทำนองนี้หน้าชื่อแฟ้ม ซึ่งเป็นการกำหนด สิทธิของแต่ละแฟ้ม ว่า อ่านได้ เขียนได้ และประมวลผลได้ โดยแยกเป็นส่วนของ เจ้าของ กลุ่ม คนอื่น ซึ่งเป็นคำสั่งที่จำเป็นมากสำหรับ webmaster ในการดูแลระบบ และท่านที่ต้องการเขียน CGI จะต้องรู้คำสั่งนี้ เพราะ เมื่อส่งแฟ้ม CGI เข้าไปใน server และต้องการให้คนทั่วไปเข้ามาใช้บริการ โปรแกรมของตนที่เขียนขึ้นด้วย Perl จะไม่สามารถใช้ได้ ถ้าไม่กำหนดให้คนอื่น สามารถประมวลผลได้ (x) จึงจำเป็นต้องใช้คำสั่ง เช่น chmod 755 hello.pl หรือ chmod 775 fileforyou.pl หรือ chmod +x test.pl เป็นต้น
ในแต่ละกลุ่มจะมีการกำหนดสิทธิได้ 3 แบบ
ตัวอักษร R มาจาก Read หมายถึง อ่าน
ตัวอักษร W มาจาก Write หมายถึง เขียน
ตัวอักษร X มาจาก Execute หมายถึง ประมวลผล
ตัวอย่างเช่น
--- : ไม่มีสิทธิอะไรเลย (เลขที่ใช้คือ 0)
--X : ประมวลผลได้อย่างเดียว (เลขที่ใช้คือ 1)
R-- : อ่านได้อย่างเดียว (เลขที่ใช้คือ 4)
RW- : อ่าน และเขียนได้ (เลขที่ใช้คือ 6)
R-X : อ่าน และประมวลผลได้ (เลขที่ใช้คือ 5)
RWX : อ่าน เขียน และประมวลผลได้ (เลขที่ใช้คือ 7)
ความหมายของ RWXRWXRWX จะเห็นว่ามีอักษร 9 ตัว
3 ตัวแรกหมายถึง เจ้าของ
3 ตัวที่สองหมายถึง กลุ่ม
3 ตัวที่สามหมายถึง คนอื่น
ตัวอย่างเช่น
RWX------ : เจ้าของเท่านั้นที่มีสิทธิทุกอย่าง (เลขที่ใช้คือ 700)
RWXRWX--- : เจ้าของ และสมาชิกกลุ่มเดียวกันมีสิทธิทุกอย่าง (เลขที่ใช้คือ 770)
RWXR-XR-X : เจ้าของทำได้หมด ส่วนกลุ่มและคนอื่นอ่านและประมวลผลได้ (เลขที่ใช้คือ 755)
R--R--R-- : ทุกคนอ่านได้อย่างเดียว (เลขที่ใช้คือ 444)
    ตัวอย่างคำสั่ง และการใช้งาน
    chmod 777 index.php :: ทำให้แฟ้มนี้ อ่าน เขียน และประมวลผล โดยทั้ง 3 กลุ่ม
    chmod 755 * -Rf :: ทำให้ทุกแฟ้ม ทุกห้องเก็บข้อมูล ในห้องปัจจุบัน เปลี่ยนตามที่กำหนด
Android
in
Terminal Emulator
$chmod
#

ขอบซ้ายขอบบน
สารบัญ
กรณีศึกษาจาก Redhat 6.2 -> Fedora Core 4 -> Android 4.01
บทที่ 1 : คำสั่งสำหรับผู้ใช้พื้นฐาน (Basic user command)
    1.1 คำสั่ง ls : แสดงรายชื่อแฟ้มในห้องปัจจุบัน หรือห้องอื่น ๆ ที่ต้องการ 1.2 คำสั่ง chmod : เปลี่ยนสถานะของแฟ้มเช่น Read Write eXecute 1.3 คำสั่ง man : แสดงรายละเอียดของคำสั่ง (Manual) 1.4 คำสั่ง mkdir, rmdir, cd : คำสั่งเกี่ยวกับ Directory หรือ Folder เพื่อสร้าง หรือลบ 1.5 คำสั่ง pico : editor ยอดฮิตใน Linux ที่ต้องมากับ Pine เป็น Text mode ที่ใช้ง่ายที่สุด 1.6 คำสั่ง emacs : editor ยอดฮิตใน Linux ใช้ยากกว่า pico นิดหน่อย 1.7 คำสั่ง vi : editor ยอดฮิตใน Linux ที่ใช้ยากที่สุด 1.8 คำสั่ง id, finger, who, w : โปรแกรมตรวจสอบ username ของตนเอง 1.9 คำสั่ง cat : แสดงข้อมูลในแฟ้มเหมือนคำสั่ง type ในระบบ DOS 1.10 คำสั่ง ifconfig : ดู IP หรือเพิ่ม IP เข้าไปใน linux server 1.11 คำสั่ง netstat : แสดงสถานะของเครือข่าย 1.12 คำสั่ง service : แสดงสถานะโปรแกรมที่เปิดให้บริการ 1.13 คำสั่ง xinetd : แสดงบริการที่เปิดใต้โปรแกรม xinetd 1.14 คำสั่ง whereis : ค้นหาแฟ้มที่ต้องการว่าอยู่ที่ห้องใด 1.15 คำสั่ง cp, rm, mv : จัดการแฟ้มเช่น คัดลอก ลบ และย้าย 1.16 คำสั่ง ping : ตรวจสอบ ip และการเชื่อมต่อ internet 1.17 คำสั่ง env : แสดงค่า environment ปัจจุบัน 1.18 คำสั่ง lynx : Text browser ที่ใช้งานง่าย ใช้ดู source หรือ download ได้ 1.19 คำสั่ง nslookup : แสดงข้อมูลเกี่ยวกับ name server จาก ip หรือ domain name 1.20 คำสั่ง tail : แสดงส่วนท้ายของแฟ้มที่มีขนาดใหญ่ ต้องข้ามกับ cat ที่ดูตั้งแต่เริ่มแฟ้ม 1.21 คำสั่ง telnet : ใช้ติดต่อเข้า server ต่าง ๆ ตาม port ที่ต้องการ .
บทที่ 2 : คำสั่งสำหรับผู้ใช้ระดับกลาง (Intermediate user command) เพื่อต้องการตรวจสอบระบบ
    2.1 คำสั่ง df : แสดง partition ของ linux พร้อมขนาดที่ใช้ไป 2.2 คำสั่ง du : แสดงพื้นที่ใช้งานในแต่ละ Directory 2.3 คำสั่ง ps : แสดง process ที่กำลังทำงานอยู่ทั้งของเครื่อง และตนเอง 2.4 คำสั่ง kill : ยกเลิก process ที่ทำงานอยู่ 2.5 คำสั่ง find : ค้นหาแฟ้มที่ต้องการภายในทุก ๆ directory ได้ 2.6 คำสั่ง gzip : คลายการบีบอัด หรือแตกแฟ้มประเภท .gz 2.7 คำสั่ง tar : คลายการบีบอัด หรือแตกแฟ้มประเภท .tar 2.8 คำสั่ง last : แสดงรายชื่อผู้ใช้งานระบบปัจจุบันไปถึงอดีต 2.9 คำสั่ง grep : เลือกข้อความที่ต้องการภายในแต่ละบรรทัด 2.10 คำสั่ง date, hwclock : ใช้กำหนด หรือแสดงเวลาปัจจุบัน 2.11 คำสั่ง top : แสดง process ที่ทำงานในปัจจุบัน พร้อม refresh ตลอดเวลา 2.12 คำสั่ง ntsysv และ setup : กำหนดบริการที่ต้องการเปิด หรือปิด เช่น httpd หรือ vsftp 2.13 คำสั่ง route : ใช้กำหนด แสดง ตารางเส้นทาง 2.14 คำสั่ง shutdown, reboot : ใช้ปิดเครื่อง หรือ ปิดและเปิดเครื่องใหม่อย่างถูกวิธี 2.15 คำสั่ง runlevel : คู่กับแฟ้ม /etc/inittab 2.16 คำสั่ง fsck : ซ่อมแซมระบบแฟ้มใน linux 2.17 คำสั่ง chown, chgrp : เปลี่ยนเจ้าของ หรือเปลี่ยนกลุ่ม 2.18 คำสั่ง chkconfig : กำหนด หรือแสดง บริการที่สั่งประมวลผลใน level ต่าง ๆ ขณะเปิดเครื่อง 2.19 คำสั่ง mount, umount : เชื่อมต่ออุปกรณ์ หรือ partition เช่น Diskette หรือ Handy drive 2.20 คำสั่ง mkbootdisk : สร้างแผ่น boot disk เพื่อใช้ boot ระบบ linux ขึ้นมาภายหลัง 2.21 คำสั่ง traceroute : แสดงเลข ip ของเครื่องที่ถูกเชื่อมต่อ ไปยังปลายทางที่ต้องการ 2.22 คำสั่ง rpm : ใช้ตรวจสอบ เพิ่ม หรือลบ package ของระบบ linux เกือบทั้งหมด 2.23 คำสั่ง su : ขอเปลี่ยนตนเองเป็น Super user เพื่อใช้สิทธิสูงสุดในการบริหารระบบ 2.24 คำสั่ง useradd : เพิ่มผู้ใช้รายใหม่เข้าไปในระบบ 2.25 คำสั่ง userdel : ลบผู้ใช้รายเดิม ออกจากระบบ 2.26 คำสั่ง usermod : แก้ไขข้อมูลของผู้ใช้ได้ 2.27 คำสั่ง crontab : ตั้งเวลาสั่งงานคอมพิวเตอร์ 2.28 คำสั่ง lspci : ตรวจสอบอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อภายในเครื่อง 2.29 คำสั่ง nmap : ตรวจสอบเครือข่ายแบบกวาดทั้งในเครื่อง และ class C .
บทที่ 3 : บทเรียน PERL บทที่ 4 : บทเรียน PHP บทที่ 5 : บทเรียน MYSQL บทที่ 6 : แนะนำเครื่องบริการ บทที่ 7 : การใช้ application บทที่ 8 : ระบบ file และ directory บทที่ 9 : การบริหารระบบ โดย Super User
ผู้สนับสนุน + ผู้สนับสนุน
+ รับผู้สนับสนุน
"Imagination is more important than knowledge" - Albert Einstein
Home
Thaiabc.com
Thainame.net
Lampang.net
Nation university
PHP
MySQL
Visual basic.NET
TabletPC
Linux
Online quiz
Download
Search engine
Web ranking
Add website
Blog : Education
Blog : ACLA
Blog : Lampang
Facebook.com
Twitter.com
About us
My dream
Site map
Sponsor