tu star

ซอมบี้คอมพิวเตอร์คืออะไร พบใน TU Star #1/59

zombie in tu star
zombie in tu star

คำว่า zombie in computer science เป็นข้อสอบข้อหนึ่ง
ใน TU star 1/2559
http://www.tustar.tu.ac.th
ที่สอบเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2559 สำหรับนักเรียนที่เลือกสอบ
TU star 01, 02 หรือ 03
วิชา ความเท่าทันโลกสมัยใหม่ (Modern world Literacy) มี 30 ข้อ
ซึ่งวัดความรู้รอบตัว และเท่าทันเหตุการณ์ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม/วัฒนธรรม
การเมือง เทคโนโลยี และสุขภาพ
เพราะในส่วน “เทคโนโลยี” มีคำถามเรื่อง zombie computer จึงนำมาเล่าสู่กันฟัง
http://thainame.net/edu/?p=4160

ซอมบี้ (Zombie) คือ เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตแล้วถูกครอบงำโดยแฮกเกอร์ ซึ่งจะติดไวรัสหรือม้าโทรจันที่สามารถทำงานคุกคามที่เป็นอันตราย ต่อคอมพิวเตอร์อื่นภายใต้การควบคุมระยะไกลได้

In computer science, a zombie is a computer connected to the Internet that has been compromised by a hacker, computer virus or trojan horse and can be used to perform malicious tasks of one sort or another under remote direction.

บอตเน็ต (Botnet = robot network) ของเครื่องซอมบี้ คือ เครือข่ายของซอมบี้ที่มักถูกใช้แพร่กระจายอีเมลสแปม  และทำให้เกิดปัญหาปฏิเสธการให้บริการ (DoS) ผู้เป็นเจ้าของเครื่องที่เป็นซอมบี้ส่วนใหญ่ไม่ได้ตระหนักว่าเครื่องของตนถูกใช้แบบนี้ เพราะเจ้าของมีแนวโน้มว่าไม่รู้ตัว จึงเทียบเคียงได้ว่าคอมพิวเตอร์เหล่านี้เป็นซอมบี้ การร่วมกันโจมตีจากหลายบอตเน็ตก็เหมือนกันร่วมมือกันของฝูงชนในการจู่โจมเป้าหมาย

Botnets of zombie computers are often used to spread e-mail spam and launch denial-of-service attacks. Most owners of zombie computers are unaware that their system is being used in this way. Because the owner tends to be unaware, these computers are metaphorically(เทียบเคียง) compared to zombies. A coordinated DDoS attack by multiple botnet machines also resembles a zombie horde(ฝูง) attack.

https://en.wikipedia.org/wiki/Zombie_%28computer_science%29

ขั้นตอนการเพิ่มคลิ๊กเว็บไซต์ผ่านบริการสแปมเมอร์
(1) Spammer’s web site
เว็บไซต์ที่สแปมเมอร์อยากให้มีคนเข้าไปดูข้อมูล อาจได้รับการว่าจ้าง
(2) Spammer
สแปมเมอร์หรือผู้ไม่ประสงค์ดีสร้างซอฟต์แวร์เฉพาะกิจตามใบสั่ง
(3) Spamware
ส่งสแปมแวร์ที่อาจมีหลายรูปแบบ ทั้งจดหมาย หรือทำให้คนติดเชื้อ
(4) Infected computers
ส่งให้กับเครื่องเหยื่อ หรือกลุ่มเป้าหมายที่ติดเชื้อซอมบี้
(5) Virus or trojan
เหยื่อบางคนรอดถ้าตระหนัก ที่ไม่รอดก็ติดเชื้อซอมบี้
เชื่อที่ติดอาจเป็นไวรัส หรือม้าโทรจัน
แล้วส่งอีเมลจำนวนมากด้วยบัญชีของเหยื่อผ่านรายชื่อเพื่อนในสมุดที่อยู่
(6) Mail servers
เพื่อนของซอมบี้ได้รับจดหมายจำนวนมาก เห็นได้ในเครื่องบริการอีเมล
(7) Users
ผู้ที่ได้รับอีเมบจากซอมบี้เปิดอ่านอีเมล แล้วคลิ๊กตามลิงค์
(8) Web traffic
เว็บไซต์ของลูกค้าที่จ้างสแปมเมอร์มีคนคลิ๊กเข้าไปจำนวนมาก

ข้อสอบข้อนี้เพื่อนชื่อ Toeic Tutor แชร์มาในเฟส
พบว่า เป็นเนื้อหาใน FB Page : GAT Community
สามารถไปติดตามข้อสอบอื่นได้ เพื่อการเรียนรู้ และเตรียมความพร้อม
! https://www.facebook.com/gatconnectmaster/photos/a.1717807878436670.1073741840.1516128351937958/1717816878435770/

TU Star คือ เกตเวย์เข้าธรรมศาสตร์

tu star 8 menu
tu star 8 menu

เมื่อ 3 ก.ค.59 มีข่าวจราจรจาก สวพ. FM 91
ว่าถนนพหลโยธิน ขาออก
มีสอบทียูสตาร์ (TU Star) ที่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รังสิต
มีผู้เข้าสอบจากทั่วประเทศ 20,600 คน
https://www.facebook.com/trafficradiofm91/photos/a.172109969466208.46607.172059279471277/1279022045441656/
แล้วค้นจาก google ด้วย “ธรรมศาสตร์รังสิต รถติด”
พบข่าวนี้ในลำดับที่ 5

TU Star คืออะไร
TU STAR (Thammasat University Standardized Test of Aptitude Requirement)
คือ การสอบคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาผ่านโครงการรับตรงรูปแบบใหม่
ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีการศึกษา 2560
โดยใช้ข้อสอบกลาง จะเปิดให้สอบ 8 ครั้งต่อปี
การสอบ TU star มีให้เลือก 8 เมนู
และสามารถสอบได้มากกว่า 1 ครั้ง คะแนนที่ได้สามารถเก็บไว้ได้ 2 ปี
ค่าสอบแต่ละเมนูต่างกัน

TU star 01 ค่าสอบ 450 บาท
TU star 02 ค่าสอบ 450 บาท
TU star 03 ค่าสอบ 400 บาท
TU star 04 ค่าสอบ 450 บาท
TU star 05 ค่าสอบ 150 บาท
TU star 06 ค่าสอบ 150 บาท
TU star 07 ค่าสอบ 150 บาท
TU star 08 ค่าสอบ 150 บาท

http://www.smartmathpro.com/2016/03/tu-star.html

การสอบตรง TU-STAR เปิดรับสอบเข้า 14 คณะ ดังนี้
1.คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี
2.คณะรัฐศาสตร์
3.คณะสังคมสงเคราะห์
4.คณะเศรษฐศาสตร์
5.คณะศิลปศาสตร์
6.คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์
7.วิทยาลัยสหวิทยาการ
8.คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
9.คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
10.สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร (SIIT)
11.คณะแพทยศาสตร์
12.คณะสหเวชศาสตร์
13.คณะพยาบาลศาสตร์
14.คณะสาธารณสุขศาสตร์

จากข่าวนี้ทำให้ทราบว่า
เด็กที่จะสมัครผ่าน admission เข้ามหาวิทยาลัย
ปี 2559 มีประมาณ 104,265 แสน ข้อมูลเมื่อวันที่ 21 พ.ค.59 เวลา 13.00 น.
โดยมีที่นั่งที่รองรับได้คือ 123,179 คน ซึ่งสมัครกันไม่เต็มเป้าที่จะรับ
http://www.admissionpremium.com/news/1029
มาสอบ TU Star ครั้งแรกนี้สองหมื่น หรือ 20% ของทั้งประเทศ

การสอบแบบอื่นของธรรมศาสตร์
http://smart.bus.tu.ac.th/
http://litu.tu.ac.th/2012/index.php/th/tu-get

ทำให้จำนวนเด็กเข้าสอบมากกว่าทุกปี
และปีนี้มีโอกาสให้เด็ก ๆ ทั้งหมด 8 ครั้ง
รอบการสอบ สนามสอบ ช่วงวันที่รับสมัคร วันที่สอบ
1/2559 ม.ธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต 6/6/2559 – 12/6/2559 3/7/2559
2/2559 ม.ธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต 11/7/2559 – 17/7/2559 7/8/2559
3/2559 ม.ธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต จังหวัดขอนแก่น 22/8/2559 – 28/8/2559 18/9/2559
4/2559 ม.ธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต จังหวัดสุราษฎร์ธานี 12/9/2559 – 18/9/2559 9/10/2559
5/2559 ม.ธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต จังหวัดเชียงใหม่ 24/10/2559 – 30/10/2559 20/11/2559
6/2559 ม.ธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต 21/11/2559 – 27/11/2559 18/12/2559
1/2560 ม.ธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต 19/12/2559 – 25/12/2559 15/1/2560
2/2560 ม.ธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต 9/1/2560 – 15/1/2560 5/2/2560
official site http://www.tustar.tu.ac.th/

การรับตรง กับ admission มีวิธีสอบ
และการคำนวณคะแนนไม่เหมือนกัน
การสอบ TU Star เป็นการสอบเก็บคะแนนหลายครั้ง
แล้วเลือกนำคะแนนที่ดีที่สุดในแต่ละวิชา
ไปยื่นรับตรงกับธรรมศาสตร์ได้ แต่ยืนที่อื่นไม่ได้
ข้อมูล admission จากการจัดสอบ o-net, gat และ pat
ที่ https://www.opendurian.com/news/admission/

อีกข้อมูลที่น่าสนใจคือจัดอันดับ 10 คณะที่ยอดผู้สมัครรับตรงสูงสุด
1. คณะนิติศาสตร์
2. คณะเศรษฐศาสตร์
3. คณะสหเวชศาสตร์ สาขาวิชาเทคนิคการแพทย์
4. คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์
5. คณะรัฐศาสตร์ สาขาวิชาการระหว่างประเทศ
6. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี ประเภทวิชาการบัญชี (4 ปี)
7. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี ประเภทวิชาการบริหารธุรกิจ (4 ปี)
8. คณะพยาบาลศาสตร์ พยายาลศาสตร์ (ผู้ขอรับทุน)
9. คณะพยาบาลศาสตร์ พยายาลศาสตร์ (ผู้ไม่ขอรับทุน)
10. คณะศิลปศาสตร์ สาขาวิชาภาษาไทย
ข้อมูลจาก https://www.opendurian.com/news/admission/

ยอดรับตามระเบียบการ Admission 2559
มีจำนวนสถาบันที่เข้าร่วม 88 สถาบัน
คณะ สาขาร่วมกันกว่า 754 คณะ/สาขา 4,191 รหัส
รวมที่นั่งในระบบ Admission จำนวน 123,179 ที่นั่ง
1. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวน 1,834 คน
2. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จำนวน 9,106 คน
3. มหาวิทยาลัยขอนแก่น จำนวน 2,168 คน
4. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จำนวน 2,478 คน
5. มหาวิทยาลัยทักษิณ จำนวน 1,628 คน
6. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี จำนวน 873 คน
7. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ จำนวน 2,820 คน
8. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จำนวน 525 คน
9. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จำนวน 4,024 คน
10. มหาวิทยาลัยนครพนม จำนวน 293 คน
11. มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ จำนวน 205 คน
12. มหาวิทยาลัยนเรศวร จำนวน 3,570 คน
13. มหาวิทยาลัยบูรพา จำนวน 4,657 คน
14. มหาวิทยาลัยพะเยา จำนวน 2,460 คน
15. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จำนวน 2,567 คน
16. มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวน 1,499 คน
17. มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จำนวน 3,400 คน
18. มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง จำนวน 2,145 คน
19. มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ จำนวน 1,525 คน
20. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จำนวน 1,956 คน
21. มหาวิทยาลัยศิลปากร จำนวน 3,163 คน
22. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จำนวน 3,289 คน
23. มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จำนวน 1,460 คน
24. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง จำนวน 1,665 คน
25. สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน จำนวน 200 คน
26. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ จำนวน 825 คน
27. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก จำนวน 1,240 คน
28. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี จำนวน 1,425 คน
29. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร จำนวน 410 คน
30. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ จำนวน 455 คน
31. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา จำนวน 1,005 คน
32. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย จำนวน 280 คน
33. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ จำนวน 740 คน
34. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน จำนวน 615 คน
35. มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี จำนวน 210 คน
36. มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม จำนวน 280 คน
37. มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี จำนวน 1,340 คน
38. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ จำนวน 580 คน
39. มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา จำนวน 2,391 คน
40. มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี จำนวน 1,080 คน
41. มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา จำนวน 785 คน
42. มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม จำนวน 825 คน
43. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม จำนวน 1,025 คน
44. มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ จำนวน 75 คน
45. มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จำนวน 1,740 คน
46. มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จำนวน 1,954 คน
47. มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต จำนวน 1,555 คน
48. คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช จำนวน 35 คน
49. วิทยาลัยพยาบาลตํารวจ จำนวน 60 คน
50. วิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย จำนวน 60 คน
51. สถาบันการพลศึกษา จำนวน 299 คน
52. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จำนวน 1,610 คน
53. มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี จำนวน 1,020 คน
54. มหาวิทยาลัยเกริก จำนวน 1,715 คน
55. มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต จำนวน 2,290 คน
56. มหาวิทยาลัยคริสเตียน จำนวน 810 คน
57. มหาวิทยาลัยเจ้าพระยา จำนวน 400 คน
58. มหาวิทยาลัยชินวัตร จำนวน 340 คน
59. มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น จำนวน 240 คน
60. มหาวิทยาลัยตาปี จำนวน 275 คน
61. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร จำนวน 250 คน
62. มหาวิทยาลัยธนบุรี จำนวน 580 คน
63. มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ จำนวน 945 คน
64. มหาวิทยาลัยเนชั่น จำนวน 530 คน
65. มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ จำนวน 2,880 คน
66. มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมป์ฟอร์ด จำนวน 810 คน
67. มหาวิทยาลัยนานาชาติเอเชียแปซิฟิก จำนวน 100 คน
68. มหาวิทยาลัยพายัพ จำนวน 3,590 คน
69. มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น จำนวน 1,110 คน
70. มหาวิทยาลัยภาคกลาง จำนวน 880 คน
71. มหาวิทยาลัยรังสิต จำนวน 4,210 คน
72. มหาวิทยาลัยราชธานี จำนวน 1,350 คน
73. มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล จำนวน 550 คน
74. มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น จำนวน 870 คน
75. มหาวิทยาลัยศรีปทุม จำนวน 2,565 คน
76. มหาวิทยาลัยสยาม จำนวน 1,090 คน
77. มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จำนวน 3,125 คน
78. มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ จำนวน 2,275 คน
79. มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ จำนวน 1,100 คน
80. มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย จำนวน 665 คน
81.สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ จำนวน 445 คน
82.วิทยาลัยเชียงราย จำนวน 340 คน
83. วิทยาลัยเซนต์หลุยส์ จำนวน 120 คน
84. วิทยาลัยเซาส์อีสบางกอก จำนวน 400 คน
85. วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ จำนวน 180 คน
86. วิทยาลัยดุสิตธานี จำนวน 220 คน
87. วิทยาลัยนครราชสีมา จำนวน 890 คน
88. วิทยาลัยสันตพล จำนวน 1,330 คน
http://www.admissionpremium.com/news/906